การประเมินและวัดผลกระทบทางธุรกิจ

แนวทางการดำเนินงาน


ภาพรวมวิธีการประเมินมูลค่าผลกระทบของ ซีพี ออลล์

กรณีศึกษาเชิงธุรกิจสำหรับการประเมินมูลค่าผลกระทบ

พิจารณาแต่ละองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อใช้ในการประเมิน
– ผลกระทบของแต่ละโปรแกรม
– จุดเริ่มต้นของผลกระทบที่พิจารณา
– ขอบเขตของเวลา และภูมิศาสตร์

จำนวนตัวชี้วัดของปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์ และผลกระทบที่คาดไว้

แผนงานที่ดำเนินการรวมถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลและเทคนิคพิเศษทางด้านมูลค่า

การรวบรวมข้อมูลจากตัวชี้วัดที่ได้ตกลงไว้ในขั้นตอนก่อนหน้านี้ ซึ่งรวมถึงข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ

การประเมินและวัดผลกระทบหลัก ซึ่งอาจรวมถึงการประเมินรวมกัน ทั้งเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และตัวเงิน

สิ่งที่เป็นข้อความสำคัญสำหรับผู้รับสารทั้งภายในและภายนอก

วิธีการบูรณาการการประเมินมูลค่าผลกระทบเชิงธุรกิจ

โครงการกล้วยหอมทอง

โครงการต่อเนื่องส่งเสริมเกษตรกรกล้วยหอมทอง มุ่งดำเนินงานสนับสนุนสินค้าจากเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การทำสื่อการสอนเพื่อให้ความรู้เกษตรกร ส่งเสริมการปลูกให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตรวจสอบย้อนกลับที่มาของผลิตภัณฑ์ได้ ส่งเสริมความรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา ตลอดจนมุ่งเพิ่มช่องทางการกระจายสินค้า ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ผ่านร้าน 7-Eleven และเซเว่น เดลิเวอรี่ (7Delivery)

โครงการกล้วยหอมทองสร้างรายได้ของเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยเพิ่มขึ้น เกิดจากการจ้างงานในชุมชนมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันโครงการฯ ครอบคลุมพื้นที่การเกษตรกว่า 22,404 ไร่ ใน 36 จังหวัด

พร้อมกันนี้ ผลการประเมินผลกระทบจากการดำเนินโครงการที่ผ่านมาพบว่าโครงการกล้วยหอมทองก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกมากกว่าเชิงลบคิดเป็น 85.06 เท่า

2.30  ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ  103.34

เปรียบเทียบกับการดำเนินการก่อนเข้าร่วมโครงการกล้วยหอมทองกับบริษัท

1549  ราย

(ลดลง ร้อยละ 16.04 เทียบปี 2564)

99.43  ล้านลูกต่อปี
816  ล้านบาท

(เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.41 เทียบปี 2564)

ผลลัพธ์

  • สร้างรายได้ที่มั่นคง
  • เพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร
  • พัฒนามาตรฐานการผลิตสินค้าทางการเกษตร
  • สร้างศูนย์การเรียนรู้การปลูกกล้วย
  • ถ่ายทอดอาชีพ จากรุ่นสู่รุ่น
  • กลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง มีความสามารถในการแข่งขัน
  • สุขภาพที่ดีขึ้นของคนในชุมชนอันเนื่องมาจากการลดการใช้สารเคมี
  • ลดการใช้สารเคมี เพิ่มการใช้สารชีวภาพล
  • ลดการปนเปื้อนและตกค้างของสารเคมีในพื้นที่การเกษตร
  • ลดการใช้น้ำและทรัพยากรอื่นๆ และใช้ให้คุ้มค่าตามหลัก GAP
  • มีการรักษาคุณภาพดินตามหลัก GAP
  • เกษตรกร ผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการ  1,549  ราย
  • พื้นที่เพาะปลูกรวม  22,404  ไร่
  • รายได้ของผู้ร่วมโครงการเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.3  ล้านบาท
  • ผลผลิตกล้วยหอมทองเพิ่มขึ้น  99.43  ล้านลูกต่อปี คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ  816  ล้านบาท
  • สร้างอาชีพให้ชุมชน โดยสนับสนุนให้โรงคัดบรรจุแต่ละภูมิภาครับกล้วยหอมทองจากเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็นการกระจายรายได้และอาชีพ
  • เพิ่มช่องทางการจำหน่าย โดยสามารถขยายโรงคัดบรรจุครอบคลุมทุกภูมิภาค เพื่อส่งกล้วยหอมทองให้กับร้าน 7-Eleven กว่า 13,838 สาขา คิดเป็นมูลค่า 816 ล้านบาท
  • การใช้สารเคมีที่เหมาะสมในปริมาณในปลอดภัยส่งเสริมการใช้ปุ๋ยชีวภาพและชีวภัณฑ์ ทำให้การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีลดลงกว่าร้อยละ 26 สามารถลดต้นทุกให้กับเกษตรกร 1,875 บาทต่อไร่
  • ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ามากขึ้น
  • ช่วยรักษาคุณภาพดิน

การประเมินและวัดผลกระทบทางธุรกิจ

ผลกระทบทางธุรกิจขั้นต้น
(Upstream Impact)

535 ล้านบาท
2.47 ล้านบาท

ผลกระทบทางธุรกิจขั้นปลาย
(Downstream Impact)

3.8 ล้านบาท

เว็บไซต์ cpall.co.th มีการเก็บคุกกี้ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน้า นโยบายการใช้คุกกี้

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

บันทึกการตั้งค่า