ความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย



ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2565
บริษัท ซีพีแรม จำกัด ได้รับรององค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2565 ในระดับดีเด่น เป็นปีที่ 2 ประเภทองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรมจากการที่มีควมโดดเด่นในการดำเนินงานที่คำนึงถึงสิทธิมนุษยชน
บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ได้รับรางวัลระดับภูมิภาค “Best Local Currency Bond Deal of The Year” และ “Most Innovative Deal of The Year” จาก Alpha Southeast Asia 2022 ซึ่งเป็นนิตสารชั้นนำด้านการลงทุนสถาบัน การธนาคารและตลาดทุนของภูมิภาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้มีส่วนได้เสียหลักที่ได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ
สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลการดำเนินงานเทียบเป้าหมาย
เป้าหมายปี 2573
80ระดับความผูกพันของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ความก้าวหน้าเทียบกับเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว
ความเสี่ยงและโอกาส
การดำเนินธุรกิจที่ขาดความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้เสียนั้น นอกจากจะส่งผลเสียต่อความสัมพันธ์ที่ดีและความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้เสีย ยังสามารถนำไปสู่สภาวะชะลอตัวของธุรกิจและความสามารถในการบรรลุเป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กร อาทิ นักลงทุนขาดความสนใจและความเชื่อมั่นในการลงทุน เกิดการเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนแปลงเงินลงทุน ความขัดแย้งและรณรงค์หรือคัดค้านการดำเนินธุรกิจจากชุมชน รวมถึงการลาออกของพนักงานจากความรู้สึกไม่ปลอดภัยและไม่ผูกพันกับองค์กร ดังนั้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านการสร้างความโปร่งใสในการกำกับดูแลการสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินธุรกิจขององค์กรที่เข้าถึงได้ง่ายและถูกต้อง รวมถึงการพิจารณาแผนดำเนินงานที่คำนึงถึงข้อเสนอและความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ตามหลักสิทธิมนุษยชนเพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มได้รับอิสารภาพด้านการแสดงออกทางความคิด และการได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม นับเป็นปัจจัยในการขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจที่สำคัญ ช่วยผลักดันให้องค์กรสมดุลและสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการดำเนินงาน
บริษัทเคารพสิทธิและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม โดยดำเนินงานตามกระบวนการสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย ตามกรอบมาตรฐาน AA1000 Stakeholder Engagement Standard (AA1000SES) ภายใต้หลักการสำคัญ คือ การประเมินประเด็นสำคัญ (Materiality) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย (Inclusivity) และการตอบสนองต่อความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสย (Responsiveness) เพื่อรับทราบมุมมอง ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนได้เสียต่อการดำเนินธุรกิจขององค์กรทั้งภาวะปกติและภาวะวิกฤต ผ่านการสัมภาษณ์ ช่องทางรับข้อเสนอแนะ และช่องทางการรับข้อร้องเรียนจากการจัดหาขององค์กรที่หลากหลายครอบคลุมประเด็นความยั่งยืนทั้ง 3 มิติ ได้แก่ มิติสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาลและเศรษฐกิจ ซึ่งช่วยให้บริษัทสามารถวางแผนการตอบสนองความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงเป็นแนวทางในการจัดทำรายงานความยั่งยืนอย่างเหมาะสม โดยแบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียเป็น 9 กลุ่มหลัก ได้แก่ลูกค้า คู่ค้า ชุมชนและสังคม พนักงานและครอบครัวพนักงาน ผู้นำทางความคิด พันธมิตรทางธุรกิจ ภาครัฐ ผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ผู้ให้สิทธิ์ใช้เครื่องหมายทางการค้า
การเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับทุกภาคส่วน ระดับประเทศ และ ระดับสากล
บริษัทเข้าร่วมเครือข่ายความร่วมมือขององค์กรระดับประเทศและระดับสากล เพื่อร่วมขับเคลื่อนป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน และส่งเสริมการบริหารจัดการปรเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนของบริํท ผ่านการแลกเปลี่ยนข้อมูล การเข้าร่วมแสดงความคิดเห็น การร่วมยกร่างมาตรฐาน การร่วมวางแผน การร่วมขับเคล่อนโครงการหรือกิจกรรม รวมถงการร่วมประเมินผล ซึ่งมีการรายงานความคืบหน้า ดังนี้
ประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมาภิบาลและการต่อต้านการทุจริต | แนวปฏิบัติการใช้แรงงาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (เคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล) | การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างรับผิดชอบ | การสร้างคุณค่าทางสังคมและการสนับสนุนในระบบเศรษฐกิจ | การเสริมสร้างสุขภาพและสุขภาวะที่ดี | การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ | ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและทรัพยากร | การจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน | การจัดการของเสียและอาหารส่วนเกินอย่างยั่งยืน | |
UN Global Compact |
|
|
|
|
|||||
CDP |
|
||||||||
Global Compact Network Thailand |
|
|
|
|
|||||
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย |
|
||||||||
แนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย |
|
||||||||
หอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย | |||||||||
มูลนิธิสานอนาคตการศึกษา คอนเน็กซ์ อีดี |
|
|
|||||||
เครือข่ายอุดมศึกษา เครือข่ายอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน |
|
||||||||
เครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย |
|
||||||||
ภาคีเครือข่ายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
|
||||||||
มูลนิธิรักษ์อาหาร |
|
||||||||
มูลนิธิ VV Share Foundation |
|
||||||||
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย |
|
การดำเนินงานสร้างการมีส่วนร่วม ตอบสนองต่อความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย
บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงกาของบริษัทผ่านช่องทางต่างๆ พร้อมทั้งนำข้อคิดเห็นและประเด็นสำคัญพิจารณา เพื่อปรับปรุงการดำเนินการของบริษัทให้สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 9 กลุ่ม ดังตาราง
1. ลูกค้า
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2. คู่ค้า ครอบคลุมผู้ส่งมอบสินค้า หรือบริการ และเจ้าหนี้ทางการค้า
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
คู่ค้า ผู้ส่งมอบ หรือบริการ
|
|
|
|
ให้ช่องทางการขาย
ให้ความรู้ การพัฒนา
ให้การเชื่อมโยง
|
|
|
|
|
เจ้าหนี้ทางการค้า
|
|
|
3. สังคม ชุมชน
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4. พนักงานและครอบครัวพนักงาน
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5. ผู้นำทางความคิด ครอบคลุมสื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) และองค์กรภาคประชาสังคม (CSOs)
สื่อสารมวลชน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
6. พันธมิตรทางธุรกิจ ครอบคลุมผู้ให้เช่าสถานที่ สโตร์พาร์ตเนอร์ และผู้รับสิทธิ์ช่วงอาณาเขต
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
ผู้ให้เช่าสถานที่
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สโตร์พาร์ทเนอร์
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
7. ภาครัฐ ครอบคลุมทั้งหน่วยงานระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
8. ผู้ถือหุ้น และนักลงทุน
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
9. ผู้ให้สิทธิ์ใช้เครื่องหมายทางการค้า
ช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการมีส่วนร่วม | ตัวอย่างความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ตัวอย่างแนวทางการตอบสนองของบริษัท |
---|---|---|
|
|
|